เปิดกระโหลก !! เหตุผล 26 ข้อ แห่งความจริง ทำไมต้อง สมุนไพร !! มันดีกว่าตรงไหน ??

1. ถั่วขาว ลดอ้วน ชัวร์ หรือ มั่วนิ่ม

มีหลายข้อมูลที่ระบุว่าการบริโภคสารสกัดจากถั่วขาวเพื่อหวังผลตามโฆษณาเป็นไปได้ยาก หรือ ไม่ได้ช่วยด้านลดน้ำหนักแต่อย่างใดเนื่องจากสาร “ฟาซิโอลามิน” ที่ยับยั้งเอนไซม์อะไมเลสอาจ
จะแตกตัวหรือสลายไปตั้งแต่เข้าสู่กระเพาะอาหารแล้ว เพราะด้วยฟาซิโอลามินเองก็เป็นโปรตีน ซึ่งจะถูกย่อยที่กระเพาะอาหาร
บ้างกล่าวว่ารางกายคนเรามีเอนไซม์อะไมเลสในปริมาณมากเกินกว่าที่สารสกัดเหล่านั้นจะไปยับยั้งได้จริง และถึงจะยับยั้งได้จริง
 ร่างกายเราก็มีกลไกที่จะเพิ่มปริมาณของเอนไซม์ให้มากขึ้น เพื่อใช้ย่อยคาร์โบไฮเดรตได้อยู่ดี อีกทั้งกลไกร่างกายซับซ้อน การทดสอบในหลอดทดลองหรือในสัตว์
อาจไม่ได้ผลในมนุษย์ นอกจากนี้พบว่าแม้แป้งจะถูกสารนี้ยับยั้งไว้ได้บ้าง แต่ก็จะมีบางส่วนของแป้งที่ไม่ถูกย่อยและดูดซึมในลำไส้เล็กผ่านไปยังลำไส้ใหญ่ และเกิดการหมัก
เกิดกรดไขมันสายสั้นดูดซึมเข้าร่างกายได้อยู่ดี สำหรับกรณีที่ทดสอบกับคนและได้ผลนั้น ตอ้งพิจารณาจำนวนตัวอย่าง เงื่อนไขการทดสอบ หลักเกณฑ์ / วิธีการวิจัยด้วย ควรต้องดำเนินการถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย
และด้วยวิธีการที่ยอมรับได้
ผู้ที่อ้วนเพราะชอบบริโภค ขนมหวาน น้ำตาล หรืออาหารที่อุดมไปด้วยไขมัน เนื้อสัตว์ ย่อมไม่ได้รับประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ที่มีสารสกัดจากถั่วขาว
อ้างอิงจาก : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข  http://www.hiso.or.th/hiso/ghealth/newsx1849.php

2. ส้มแขก ( ถ้าไม่แอบผสมไซบู ก็ยากอยู่นะ )

งานวิจัยของ Heymsfield และคณะในปี 1998 บอกว่าสารสกัดจากผลส้มแขก ไม่สามารถลดน้ำหนักได้
อ้างอิง : Heymsfield SB, Allison DB, Vasselli JR, Pietrobelli A, Greenfield D, Nunez C.Garcinia cambogia (Hydroxycitric Acid) as a Potential Antiobesity Agent.JAMA. 1998 Nov 11; 18(280): 1596-600.

3. L-carnitine จำเป็นไหมกับการลดอ้วน

โดยอ้างอิงจากการค้นคว้าหาข้อมูลของนายแพทย์ปิติ นิยมศิริวนิช พบว่ามีการศึกษาทดลองให้ L-Carnitine
ในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีน้ำหนักเกิน 13 คน และเปรียบเทียบกับยาหลอก (ไม่ได้รับ L-Carnitine) 15 คน
และให้รับประทานอาหารเหมือนๆ กัน และออกกำลังกายเหมือนกัน ไม่พบความแตกต่างในดัชนีมวลกาย
นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาอยู่อีกการศึกษาหนึ่งที่นำหญิงอ้วน 36 ราย ให้ L-Carnitine 4 กรัมต่อวัน เป็นระยะเวลา 60 วัน
ให้ผลไม่แตกต่างจากเม็ดแป้ง ไม่ว่าจะเป็นผลในเรื่องของน้ำหนักตัวหรือดัชนีมวลกาย แม้แต่การเผาผลาญไขมัน
จากการศึกษาดังกล่าว พบว่า L-Carnitine นั้นมีส่วนช่วยในการลดความอ้วนน้อยมาก
อ้างอิง : http://www.lovefitt.com/healthy-fact/

4. กระบองเพชร ( ค้นดูงานวิจัยลึกๆ แล้วรึยัง ?? )

ผลการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดของ Hoodia Gordonii ต่อความอยากอาหารและการลดน้ำหนักในมนุษย์ยังมีความขัดแย้งกัน โดยพบการศึกษาที่มีการใช้สารสกัดจาก Hoodia Gordonii ในมนุษย์จำนวน 2 การศึกษา
การศึกษาแรกเป็นการศึกษาของบริษัท Phytopharm ในปี 2001 ซึ่งไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ แต่มีการรายงานว่าบริษัทได้ทำการศึกษาผลของสารสกัดจาก Hoodia Gordonii ในอาสาสมัครที่มีภาวะอ้วน ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม (ไม่ระบุจำนวนในแต่ละกลุ่ม) โดยผู้ป่วยกลุ่มหนึ่งได้รับยาหลอก ส่วนอีกกลุ่มได้รับสารสกัดจาก Hoodia Gordonii หลังจากติดตามผู้เข้าร่วมการศึกษาเป็นระยะเวลา 15 วัน พบว่ากลุ่มที่ได้รับสารสกัดลดปริมาณความต้องการพลังงานต่อวันลง 1000 แคลอรี่ มีค่าเฉลี่ยพลังงานต่อวันเป็น 2200 แคลอรี่ และไม่มีการรายงานถึงอาการข้างเคียง (2) ต่อมาในปี 2011 มีการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์ Blom และคณะได้ทำการศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสารสกัดจากกระบองเพชรสายพันธ์ Hoodia Gordonii ในผู้หญิงสุขภาพดีแต่มีภาวะน้ำหนักเกิน โดยเป็นงานวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม หรือ Randomized controlled trial แบ่งอาสาสมัครออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกจำนวน 25 ราย ได้รับสารสกัดจาก Hoodia Gordonii 1110 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง และอีกกลุ่มจำนวน 24 รายได้รับยาหลอก ติดตามเป็นระยะเวลา 15 วัน หลังสิ้นสุดการศึกษาพบว่าความอยากอาหาร และน้ำหนักระหว่าง 2 กลุ่มไม่ได้แตกต่างกัน แต่กลุ่มที่ได้รับสารสกัด Hoodia Gordonii พบอาการข้างเคียงมากกว่ากลุ่มยาหลอก โดยอาการข้างเคียงที่พบได้แก่ อาการคลื่นไส้อาเจียน มีความรู้สึกที่ผิดปกติบริเวณผิวหนัง ความดันและอัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น เอนไซม์ตับเพิ่มสูงขี้น ซึ่งจากผลการทดลองดังกล่าวสรุปว่าสารสกัดกระบองเพชรสายพันธ์ Hoodia gordonii ไม่ได้มีผลอย่างมีนัยสำคัญ ต่อความต้องการพลังงานหรือน้ำหนักตัวเมื่อเทียบกับยาหลอก แต่ยังเพิ่มอาการข้างเคียงอย่างมีนัยสำคัญ (1)
นอกจากนี้เมื่อเดือนตุลาคม 2011 ยังมีประกาศเตือนจาก US FDA องค์การอาหารและยาจากประเทศอเมริกาให้หยุดใช้ “P57 Hoodia” ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์สกัดจากกระบองเพชร สรรพคุณลดความอ้วนและผลิตโดยบริษัท Huikng Pharmaceutical โดยตรวจพบสาร sibutramine ซึ่งเป็นสารที่มีอันตรายเนื่องจากมีผลเพิ่มความดันโลหิต เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ และมีความเสี่ยงต่อผู้ป่วยที่มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจ หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน (3)
ซึ่งจากการศึกษาในด้านประสิทธิภาพในการลดน้ำหนักของสารสกัดกระบองเพชรยังมีความขัดแย้งกันอยู่ อาจมีข้อมูลไม่มากพอที่จะสรุปผลของสารสกัดกระบองเพชร Hoodia Gordonii ส่วนอาการข้างเคียงที่พึงระวังได้แก่ อาการคลื่นไส้อาเจียน ความรู้สึกผิดปกติบริเวณผิวหนัง อัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตที่เพิ่มขึ้น และเอนไซม์ตับเพิ่มขี้น
อ้างอิง
1. Blom WA, Abrahamse SL, Bradford R, Duchateau GS, Theis W, Orsi A et al. Effects of 15-d repeated consumption of Hoodia gordoniipurified extract on safety, ad libitum energy intake, and body weight in healthy, overweight women: a randomized controlled trial. Am J Clin Nutr. 2011: 94; 1171-81.
2. U.S. Food and Drug Administration [internet]. USA .Available from: http://www.fda.gov/ohrms/dockets/dockets/95s0316/95s-0316-rpt0238-04-Hoodia-Gordonii-Tahiliani-vol173.pdf/
3. U.S. Food and Drug Administration [internet]. USA: U.S. Department of Health & Human services

5. แอฟริกันแมงโก้ ทาง FDA และ อย.ไทย ยังไม่ approve นะจ๊ะ

6. ชาเขียว สำหรับคนนอนหลับยาก อาจลำบากเพิ่มขึ้นนะจ๊ะ

7. ยาระบายมะขามแขก ติดยาระบาย ลำไส้พัง แถมไม่ผอม !!

ยาระบายมะขามแขกคือ ฝักมะขามแขกที่เอาเมล็ดออกแล้ว จัดเป็นยาที่ระบายออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของลำไส้
การใช้ยาระบายติดต่อกัน อาจทำให้ร่างกายเคยชินกับยาทำให้ใช้ยาในขนาดเดิมไม่ได้ผล ต้องเพิ่มขนาดของยาซึ่งทำให้เพิ่มความเสี่ยงจากการใช้ยา
จึงไม่ควรใช้ยาติดต่อกัน และยาระบายไม่ใช่ยาลดน้ำหนักหรือลดความอ้วน จึงไม่ควรใช้เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว
เพราะอาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่จนเป็นอันตรายได้

8. Chitosan ไคโตซาน

อาจก่อให้เกิดอาการแพ้ในคนที่แพ้อาหารทะเลได้ และ เคยมีผลการทดลองใช้ที่ตีพิมพ์ในวารสาร “Obesity Reviews”
พบว่า ไคโตซานไม่ได้มีผลต่อการลดน้ำหนักอย่างชัดเจน เพราะกลุ่มตัวอย่างที่กินไคโตซานเป็นระยะเวลาหนึ่งเดือน สามารถลดน้ำหนักได้เพียงครึ่งกิโลกรัมเท่านั้น

9. ลดเร็วเว่อร์ !! โปรดเลี่ยงให้ไกล

10. คอแห้ง ไม่หิวเลย นั่นแล แอบใส่ ไซบู !!

11. ลงเร็ว ใจร้อน ไม่พ้น โยโย่ ระบบเผาผลาญพัง !!

12. อาหารเสริม ไม่ใส่ไซบู นั้นโอเค แต่ลดมั๊ย ??

13. จากการนำมาใช้จริง หลายๆคน ไม่มีความเปลี่ยนแปลง

14. ยาสมุนไพรสกัด เป็นอะไรที่ เปลี่ยนแปลงได้มากกว่า และ ปลอดภัย

15. ลิขสิทธิ์สูตรตำรับ เฉพาะ ตราหมออรรถวุฒิ แพทย์แผนไทยและเภสัชกร

16. คำภีร์อายุรเวช “ตรีผลา” มีคุณค่ามหาศาล ตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล

17. นำมาสกัดวิจัยทางวิทยาศาสตร์ บูรณาการสูตรตำรับ ให้ได้ผลดีกว่า คือ ตรีผลาPlus หมออรรถวุฒิ

18. ล้างไขมัน ล้างพิษ Detox ของเสีย เพิ่มเผาผลาญ อิ่มไว ผิวเด้งใส ออร่า

19. ส่วนผสมแต่ละตัว มีกลไก และ งานวิจัยแล้ว ที่ทำให้ สวย ดูดี !! ดังต่อไปนี้

20. สมอทั้ง 5 สกัดเข้มข้น (สมอไทย สมอภิเภก สมอเทศ สมอดีงู สมอทะเล )

ไปล้างไขมันเก่า ที่สะสมอยู่ในเลือด ในตับ ลำไส้ ล้างไขมันเกาะตับ ไขมันในเลือด ล้างน้ำเหลืองเสีย ค่อยๆ ขับออกทางระบบ น้ำดี (bile acid secretion) และขับ ออกทางอุจาระ
ทำหน้าที่สเทินกรดในกระเพาะ ทำให้เวลาเราหิว จะหิวไม่รุนแรง ไม่กินก็อยู่ได้ ไม่ได้จนหิวหน้ามืดตาลาย
ส่งผลให้ไปควบคุมการยืดขยายตัวของกระเพาะอาหาร ให้เกิดการปรับตัวตามธรรมชาติ กระเพาะจะขยายน้อยลงเรื่อยๆ จนกระเพาะเล็กลง อิ่มเร็วขึ้น ทานได้น้อยลง ไม่ค่อยอยากทานจุบจิบ
( กระเพาะเล็กลงเรื่อยๆ ไม่ได้หมายความว่า เล็กจนเล็กมาก เพราะเป็นไปไม่ได้ คือ จะปรับตัวตามขนาดที่คนปกติ ไม่อ้วน ตามมาตรฐาน )
ลดบวมน้ำ ลดสิว ( จากที่ร่างกายได้ล้างพิษตับ ลำไส้ ต่างๆ สิวก็จะลดลงด้วย )
Reference อ้างอิง
1. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (สสวท), kapook.comth.wikipedia.org (Lca)
4. Finer, N., James, W.P., Kopelman, P.G., Lean, M.E., Williams, G. (2000, Mar). One-year treatment of obesity: a randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre study , a gastrointestinal lipase inhibitor. Int J Obes Relat Metab Disord, 24(3), 306-13.
5. James, W.P., Caterson, I.D., Coutinho, W., Finer, N., Van Gaal, L.F., Maggioni, A.P., Torp-Pedersen, C., Sharma, A.M., Shepherd, G.M., Rode, R.A. & Renz, C.L. (2010, Sep 2). Effect on cardiovascular outcomes in overweight and obese subjects. N Engl J Med, 363(10), 905-17.
6. Alappat, L. & Awad, A.B. (2010, Nov). Curcumin and obesity: evidence and mechanisms. Nutrition Reviews, 68(12), 729–738.
7. Adeeb, S., Taewook, H., Fazli, S. & Young, S. L. (2011, Feb). New mechanisms and the anti-inflammatory role of curcumin in obesity and obesity-related metabolic diseases. Eur J Nutr., 50, 151–161.
8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กองโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข

21. มะขามป้อมสกัด

งานวิจัย
มี วิตามินซีสูงมาก ที่ไม่สลายตัวในความร้อน
ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระสูงมาก ชลอแก่ ปกป้องเซลล์ ฤทธ์ิยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ทำให้ผิวขาวใส จากภายใน
ฤทธิ์กระตุ้นการสร้างคอลลาเจนภายใต้ชั้นผิวหนัง ลดรอยเหี่ยวย่น ให้ผิวเด้งเต่งตึง ซึ่ง ได้ผลชัดเจนกว่า การทานคอลลาเจนแบบผง (8)
รอยแผลเป็น รอยดำต่างๆ จางเร็วขึ้น
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ลดไขมันในเลือด
Reference อ้างอิง
1. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (สสวท), kapook.comth.wikipedia.org (Lca)
4. Finer, N., James, W.P., Kopelman, P.G., Lean, M.E., Williams, G. (2000, Mar). One-year treatment of obesity: a randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre study , a gastrointestinal lipase inhibitor. Int J Obes Relat Metab Disord, 24(3), 306-13.
5. James, W.P., Caterson, I.D., Coutinho, W., Finer, N., Van Gaal, L.F., Maggioni, A.P., Torp-Pedersen, C., Sharma, A.M., Shepherd, G.M., Rode, R.A. & Renz, C.L. (2010, Sep 2). Effect on cardiovascular outcomes in overweight and obese subjects. N Engl J Med, 363(10), 905-17.
6. Alappat, L. & Awad, A.B. (2010, Nov). Curcumin and obesity: evidence and mechanisms. Nutrition Reviews, 68(12), 729–738.
7. Adeeb, S., Taewook, H., Fazli, S. & Young, S. L. (2011, Feb). New mechanisms and the anti-inflammatory role of curcumin in obesity and obesity-related metabolic diseases. Eur J Nutr., 50, 151–161.
8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กองโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข

 22. มะเขือพวงสกัด

ดักจับไขมัน ที่ทานในแต่ละมื้อ แล้วขับออกทางอุจจาระ
Reference อ้างอิง
1. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (สสวท), kapook.comth.wikipedia.org (Lca)
4. Finer, N., James, W.P., Kopelman, P.G., Lean, M.E., Williams, G. (2000, Mar). One-year treatment of obesity: a randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre study , a gastrointestinal lipase inhibitor. Int J Obes Relat Metab Disord, 24(3), 306-13.
5. James, W.P., Caterson, I.D., Coutinho, W., Finer, N., Van Gaal, L.F., Maggioni, A.P., Torp-Pedersen, C., Sharma, A.M., Shepherd, G.M., Rode, R.A. & Renz, C.L. (2010, Sep 2). Effect on cardiovascular outcomes in overweight and obese subjects. N Engl J Med, 363(10), 905-17.
6. Alappat, L. & Awad, A.B. (2010, Nov). Curcumin and obesity: evidence and mechanisms. Nutrition Reviews, 68(12), 729–738.
7. Adeeb, S., Taewook, H., Fazli, S. & Young, S. L. (2011, Feb). New mechanisms and the anti-inflammatory role of curcumin in obesity and obesity-related metabolic diseases. Eur J Nutr., 50, 151–161.
8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กองโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข

23. เจตมูลเพลิงแดง และ พริกไทยดำ สกัด

ทำให้ร่างกายมีการเผาผลาญที่ดีเยี่ยม ฟื้นฟูระบบเมตาบลิซึม
( สมุนไพร เผาผลาญชัดเจน กว่า แตกต่างจากอาหารเสริม เพราะ อาหารเสริม เช่น แอลคาร์นิทีน โมเลกุลเป็นโปรตีน โดนย่อยไปตั้งแต่ลงกระเพาะแล้ว)
เพิ่มการไหลเวียนโลหิต แก้เส้นเลือดอุดตัน เพิ่มออกซิเจนให้แก่เม็ดเลือดแด
Reference อ้างอิง
1. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (สสวท), kapook.comth.wikipedia.org (Lca)
4. Finer, N., James, W.P., Kopelman, P.G., Lean, M.E., Williams, G. (2000, Mar). One-year treatment of obesity: a randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre study , a gastrointestinal lipase inhibitor. Int J Obes Relat Metab Disord, 24(3), 306-13.
5. James, W.P., Caterson, I.D., Coutinho, W., Finer, N., Van Gaal, L.F., Maggioni, A.P., Torp-Pedersen, C., Sharma, A.M., Shepherd, G.M., Rode, R.A. & Renz, C.L. (2010, Sep 2). Effect on cardiovascular outcomes in overweight and obese subjects. N Engl J Med, 363(10), 905-17.
6. Alappat, L. & Awad, A.B. (2010, Nov). Curcumin and obesity: evidence and mechanisms. Nutrition Reviews, 68(12), 729–738.
7. Adeeb, S., Taewook, H., Fazli, S. & Young, S. L. (2011, Feb). New mechanisms and the anti-inflammatory role of curcumin in obesity and obesity-related metabolic diseases. Eur J Nutr., 50, 151–161.
8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กองโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข

24. ชุมเห็ดไทย สกัด เทคนิคเฉพาะ

ปัจจุบันมีการศึกษา พบว่า เมล็ดชุมเห็ดไทยมีฤทธิ์ต้านการสะสมของไขมันจริง และ ค่าไขมันในเลือด คือ ไตรกลีเซอร์ไรด์ และโคเลสเตอรอล LDL (Low Density Lipoprotein)
หรือไขมันร้าย ลดลง ในขณะเดียวกันก็มีค่าไขมันดี หรือโคเลสเตอรอล HDL (High Density Lipoprotein) เพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีผลเพิ่มการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการยับยั้งการสร้างไขมัน เพิ่มการแสดงออกของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการสลายไขมัน
และลดการแสดงออกของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ไขมัน (1,3)
Reference อ้างอิง
1. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (สสวท), kapook.comth.wikipedia.org (Lca)
4. Finer, N., James, W.P., Kopelman, P.G., Lean, M.E., Williams, G. (2000, Mar). One-year treatment of obesity: a randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre study , a gastrointestinal lipase inhibitor. Int J Obes Relat Metab Disord, 24(3), 306-13.
5. James, W.P., Caterson, I.D., Coutinho, W., Finer, N., Van Gaal, L.F., Maggioni, A.P., Torp-Pedersen, C., Sharma, A.M., Shepherd, G.M., Rode, R.A. & Renz, C.L. (2010, Sep 2). Effect on cardiovascular outcomes in overweight and obese subjects. N Engl J Med, 363(10), 905-17.
6. Alappat, L. & Awad, A.B. (2010, Nov). Curcumin and obesity: evidence and mechanisms. Nutrition Reviews, 68(12), 729–738.
7. Adeeb, S., Taewook, H., Fazli, S. & Young, S. L. (2011, Feb). New mechanisms and the anti-inflammatory role of curcumin in obesity and obesity-related metabolic diseases. Eur J Nutr., 50, 151–161.
8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กองโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข

25. Curcumin สกัดเข้มข้น จากไพล และ ขม้นชัน

งานวิจัย
ลดปริมาณเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย (Alappat & Awad, 2010) ด้วยกลไกต่างๆ ได้แก่ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ไขมัน (adipocyte differentiation)
เพิ่มกระบวนการออกซิไดซ์กรดไขมัน (fatty acid oxidation) ยับยั้งการสร้างเส้นเลือด (angiogenesis) ที่มาเลี้ยงเนื้อเยื่อไขมัน
เพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานขั้นพื้นฐาน (basal metabolic rate) (Ejaz, Wu, Kwan & Meydani, 2009)
นอกจากนี้ยังสามารถยับยั้งเอนไซม์ที่ช่วยเร่งปฏิกิริยาการสร้างกรดไขมัน และลดความอยากอาหารได้อีกด้วย (Zhao, Sun, Ye & Tian, 2011)
น้้าหนักตัวที่ลดลงจะเกิดจากมวลไขมันในร่างกายลดลง
ลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือดได้หลายกลไก (Adeeb et.al., 2011) ได้แก่ เพิ่มตัวรับแอลดีแอลที่ตับ (hepatic LDL receptors)
ยับยั้งกระบวนการออกซิเดชั่นของแอลดีแอล เพิ่มการขับออกของคอเลสเตอรอล โดยไปเพิ่มการหลั่งกรดน้้าดี (bile acid secretion)
ยับยั้งการแสดงออกของยีนส์ที่เกี่ยวข้องในการสร้างคอเลสเตอรอล และช่วยปกป้องตับ
เพิ่ม HDL ลด LDL
ไม่มีผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายและไม่เป็นพิษต่อตับและไต (4,5,6,7)
Reference อ้างอิง
1. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (สสวท), kapook.comth.wikipedia.org (Lca)
4. Finer, N., James, W.P., Kopelman, P.G., Lean, M.E., Williams, G. (2000, Mar). One-year treatment of obesity: a randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre study , a gastrointestinal lipase inhibitor. Int J Obes Relat Metab Disord, 24(3), 306-13.
5. James, W.P., Caterson, I.D., Coutinho, W., Finer, N., Van Gaal, L.F., Maggioni, A.P., Torp-Pedersen, C., Sharma, A.M., Shepherd, G.M., Rode, R.A. & Renz, C.L. (2010, Sep 2). Effect on cardiovascular outcomes in overweight and obese subjects. N Engl J Med, 363(10), 905-17.
6. Alappat, L. & Awad, A.B. (2010, Nov). Curcumin and obesity: evidence and mechanisms. Nutrition Reviews, 68(12), 729–738.
7. Adeeb, S., Taewook, H., Fazli, S. & Young, S. L. (2011, Feb). New mechanisms and the anti-inflammatory role of curcumin in obesity and obesity-related metabolic diseases. Eur J Nutr., 50, 151–161.
8. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กองโภชนาการกระทรวงสาธารณสุข

26. ตรีผลาPlus มิติใหม่จากสมุนไพรสกัด ช่วยให้คุณหุ่นสวยอย่างยั่งยืน พร้อมผิวใสเว่อร์

 

 

 

Scroll to Top